Page 13 - excise JUNE e-book
P. 13

EXCISE Newsletter //                                                                               13





                3. พูดความจริงกับลูก

                เด็กๆ มีสิทธิที่จะรับรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น แต่ควรอธิบายให้ลูกๆ เข้าใจด้วยวิธีการ
           สื่อสารที่เหมาะสมกับวัย ต้องจ�าไว้เสมอว่า เด็ก ซึมซับความรู้สึกต่างๆ จากผู้ใหญ่ที่
           ใกล้ชิด ดังนั้น แม้ว่าหากคุณมีความกังวลแทนลูกน้อยและรู้ว่าลูกๆ อาจไม่สบายใจ
           จึงพยายามไม่เผยความกลัวที่คุณมี ลูกๆ ก็สามารถรับรู้ความรู้สึกได้ ทางเลือกที่จะ
           ช่วยบริหารอารมณ์ของลูกของคุณได้คือ “การเล่น” ซึ่งถือเป็นเครื่องมือส�าคัญให้ลูก
           สามารถข้ามผ่านอารมณ์ที่ยากล�าบาก  หากลูกน้อยของคุณดูมีความวิตกกังวล
           ให้ลองวาดภาพด้วยกัน หรือถามค�าถามส�ารวจความรู้สึกของเขา




                4. ตอบทุกค�าถามที่ลูกมี


                ต่อไปนี้คือค�าตอบส�าหรับค�าถามที่บุตรหลานของคุณ   ของวัคซีนจะใช้ได้ผลดีกับเด็กเช่นกัน กระทรวงสาธารณสุขจะ
           อาจมีเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 ที่เป็นมิตรกับเด็ก      ประกาศให้ทราบเมื่อวัคซีนพร้อมแล้วส�าหรับเด็ก ในระหว่างนี้
                วัคซีนโควิด-19 คืออะไร?                         สิ่งที่ส�าคัญคือเราต้องดูแลตัวเองและผู้อื่นให้ปลอดภัย โดยการ

                วัคซีนเป็นเหมือนเกราะป้องกันเด็กๆ จากความเจ็บป่วย  สวมหน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือ และรักษาระยะห่างระหว่างกัน
                วัคซีนโควิด-19 ทำ�งานอย่างไร?                       หมายเหตุสำ�หรับผู้ปกครอง
                วัคซีนเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะสอนร่างกายของเราให้รู้จัก   เด็กๆ ไม่ได้อยู่ในกลุ่มเป้าหมายต้นๆ ส�าหรับการฉีดวัคซีน
           การต่อสู้กับความเจ็บป่วย การฉีดวัคซีนเป็นการใส่เชื้อที่ท�าให้เราเกิด   โควิด-19 และยังคงจะเป็นเช่นนี้ในหลายๆ ประเทศ เนื่องจาก
           ความเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยมากๆ (หรือบางสิ่งที่อาจมีลักษณะ  ความจ�าเป็นในการป้องกันการติดโรคโควิด-19 ให้แก่กลุ่มที่เสี่ยง
           เหมือนเชื้อโรค) เข้าสู่ร่างกาย เพื่อให้ร่างกายสามารถเรียนรู้วิธี  ต่อการติดเชื้อและเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ง่าย อันได้แก่ ผู้สูงอายุ
           ต่อสู้กับเชื้อตัวร้าย ด้วยวิธีนี้เมื่อร่างกายเกิดสัมผัสกับเชื้อโรค   ผู้ที่มีโรคประจ�าตัว เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้ปฏิบัติงานแนวหน้า
           ร่างกายของคนที่ได้รับวัคซีนแล้ว จะรู้ทันทีว่าต้องท�าอย่างไร   ที่ท�างานใกล้ชิดและสัมผัสผู้ป่วย กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวต้อง
           เพื่อต่อสู้กับเชื้อ และจะท�าให้ร่างกายเราแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย  ได้รับวัคซีนโควิดก่อนเป็นล�าดับต้นๆ

                วัคซีนปลอดภัยหรือไม่?                               หนูกลัวเข็ม หนูต้องฉีดด้วยหรือ?
                แน่นอน วัคซีนปลอดภัยมากๆ มีเด็กๆ หลายล้านคน (และ    แม่/พ่อเข้าใจว่า ลูกรู้สึกอย่างไร แต่ลูกรู้ไหมว่าการฉีดวัคซีน
           ผู้ใหญ่) ได้รับวัคซีนในทุกๆ ปี ซึ่งจะช่วยป้องกันโรคต่างๆ   นั้นเร็วมาก เพียงแค่ลูกกระพริบตาเท่านั้นก็จะฉีดวัคซีนเสร็จแล้ว
           มากมาย เมื่อเราได้รับวัคซีนแล้ว เราอาจมีไข้หรือปวดเมื่อยตาม  ลูกจะรู้สึกเหมือนโดนหยิกนิดเดียว ตอนฉีดใช้เวลานิดเดียว
           ร่างกาย แต่อาการต่างๆ จะอยู่ไม่นานและดีกว่าที่เราจะต้อง   เหมือนกับที่ลูกได้รับวัคซีนอื่นๆ ที่เคยฉีดมาแล้ว เมื่อใกล้ถึงเวลา
           เจ็บป่วยจากโรคร้ายหลายเท่า สัญญาณป่วยเล็กน้อยที่มียังแสดง  ที่ลูกจะได้รับวัคซีน แนะน�าให้ลองฝึกสถานการณ์ฉีดวัคซีนที่บ้าน
           ให้เห็นว่าวัคซีนก�าลังท�างานและร่างกายของเราก�าลังสร้าง   ก่อนที่จะไปรับวัคซีนจริงๆ เพราะจะท�าให้ลูกคาดการณ์ได้ว่า
           เกราะป้องกันเพื่อต่อสู้กับโรคอยู่                    จะเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นบ้าง และอาจจะเตรียมอะไรอร่อยๆ
                                                                เป็นการฉลองความเก่งของลูกหลังจากได้รับวัคซีนเรียบร้อย
                เมื่อไหร่ทำี่ควรรับการฉีดวัคซีนโควิด-19?

                                       ผู้ใหญ่ (คุณอาจยกตัวอย่าง
                                   สมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อน
                                   ของคุณที่ลูกรู้จัก) มีความเสี่ยง
                                   ที่จะป่วยจากไวรัสโควิด-19
                                   มากกว่าเด็ก ดังนั้น ผู้ใหญ่จึงได้
                                   รับวัคซีนก่อนที่จะให้กับเด็ก ตอนนี้
                                   คุณหมอก�าลังทดสอบวัคซีน
                                   เพื่อให้มั่นใจได้ว่าประสิทธิภาพ



                                                                                  ขอบคุณบทความจาก www.unicef.org
   8   9   10   11   12   13   14   15   16