Page 8 - excise JUNE e-book
P. 8

8                                                                                      EXCISE Newsletter //





















         นโยบายการแก้ไขปัญหา




         บุหรี่ผิดกฎหมาย








          นายวิวัฒน์ เขาสกุล
          รองอธิบดีกรมสรรพสามิต



              การบริโภค “ยาสูบ” เป็นที่ทราบกันดีว่า ส่งผลกระทบต่อ  ที่มีราคาขายปลีก ตั้งแต่ 60 บาท ลงมา เก็บภาษีสรรพสามิต
          สุขภาพอนามัยของผู้บริโภค และผู้ใกล้ชิด นอกจากนั้นยังส่งผล  ร้อยละ 20 ส่วนบุหรี่ที่มีราคา 60 บาท ขึ้นไป เก็บภาษีสรรพสามิต
          ต่อเด็ก  และเยาวชน  สังคมไทยได้มีความตื่นตัวต่อปัญหา   ร้อยละ 40 ส่วนอัตราภาษีตามปริมาณ มวนละ 1.20 บาท เท่ากัน
          การบริโภคยาสูบมานาน คุ้นเคยกับมาตรการการควบคุมการบริโภค   โครงสร้างและอัตราภาษีดังกล่าว ท�าให้การจัดเก็บภาษียาสูบ
          ยาสูบเป็นอย่างดี ดังจะเห็นได้จากการมีพระราชบัญญัติควบคุม  ลดต�่าลงจาก 68,603.09 ล้านบาท ในปี 2560 จัดเก็บได้
          ผลิตภัณฑ์ยาสูบมาตั้งแต่ ปี 2535 และมีการออกมาตรการ   68,548.17 ล้านบาท ในปี 2561 จัดเก็บได้ 67,410.24 ล้านบาท
          หลายอย่าง เพื่อลดการบริโภคยาสูบ ได้แก่              ในปี 2562 จัดเก็บได้ 62,904.57 ล้านบาท ในปี 2563 และ
              1.  มาตรการ การห้ามโฆษณาส่งเสริมการขายในทุกรูปแบบ  จัดเก็บได้ 43,000.85 ล้านบาท ใน 8 เดือนแรกของปี 2564

              2.  มาตรการ ห้ามการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ และ    จากการส�ารวจซองบุหรี่เปล่า (Empty Packs Survey) ของ
          สถานที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายก�าหนด                     บริษัท nielsen ซึ่งจัดท�าทุกปี เพื่อประเมินแนวโน้มสถานการณ์
              3.  มาตรการ ทางภาษี และราคา                     บุหรี่ผิดกฎหมายในปี 2563 สรุปได้ดังนี้
              4.  มาตรการ ควบคุมฉลาก เป็นต้น                      1.  จากการสุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น  10,000  ซอง  ในพื้นที่
              จากงานวิจัยด้านนโยบาย มาตรการที่ใช้ควบคุมการบริโภค  36 จังหวัด ที่มีประชากรคิดเป็น 64% ของประเทศไทย ด้วยวิธีการ
          ยาสูบได้อย่างมีประสิทธิผลมากที่สุด คือ มาตรการทางภาษี และ  แบบ Stratified Quota Sampling พบว่า มีซองบุหรี่ที่ไม่ติด
          ราคา อย่างไรก็ตามมาตรการดังกล่าวจะมีประสิทธิภาพได้ ก็โดย  แสตมป์สรรพสามิต (มิได้เสียภาษีในประเทศไทย) คิดเป็นสัดส่วน
          การที่มีการป้องกัน และปราบปรามบุหรี่ผิดกฎหมาย ทั้งใน  ร้อยละ 6.2 ลดลงเล็กน้อยจากการส�ารวจประจ�าไตรมาส 4

          รูปแบบบุหรี่หนีภาษี บุหรี่ปลอม อย่างมีประสิทธิผล    ของปี 2562 ที่อยู่ระดับ 6.6% แต่ยังคงสูงกว่าก่อนการขึ้น
                             การใช้มาตรการทางภาษี และราคา     ภาษีสรรพสามิตบุหรี่ครั้งล่าสุดในปี 2560 กว่าเท่าตัว
                                 ที่มีการด�าเนินการมาอย่าง        2.  เมื่อพิจารณาสัดส่วนรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่มี
                                   ต่อเนื่องเกือบทุกปี โดยเฉพาะ  สัดส่วนบุหรี่ไม่เสียภาษีสูงที่สุด ได้แก่ 1)  สงขลา (77.5%)
                                      ครั้งหลังสุดในปี  2560    2) สตูล (71.2%) และ 3) พัทลุง (69%) โดยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น
                                       (16  กันยายน  2560)    เมื่อเทียบกับเมื่อไตรมาส 4 ปี 2562 และเป็นจังหวัดที่พบ
                                      ซึ่งก�าหนดอัตราภาษีบุหรี่   ตัวอย่างซองบุหรี่เปล่าที่ไม่เสียภาษีรวมกันคิดเป็น 68% ของ
                                      ออกเป็น 2 ขั้น คือ บุหรี่   จ�านวนที่พบทั้งหมดในการส�ารวจปี 2563
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13