Page 5 - excise JUNE e-book
P. 5

EXCISE Newsletter //                                                                               5

                                                                                                นายวิวัฒน์ เขาสกุล
                                                                                          รองอธิบดีกรมสรรพสามิต











                                   แนวทางการส่งเสริมเทคโนโลยี



                                               ระบบการกักเก็บพลังงาน



                                                            ตามแผนปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน



                ด้วยสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจากปัจจัยส�าคัญต่าง ๆ เช่น
           การพัฒนาทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ (Climate Change) การเปลี่ยนแปลง
           โครงสร้างประชากรที่มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น และการเติบโตของสังคมเมืองที่เพิ่มมากขึ้น เป็นต้น ปัจจัยดังกล่าวน�าไปสู่
           การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค ส่งผลต่อภาคธุรกิจต้องเผชิญกับการปรับตัว ทั้งในด้านการผลิตสินค้า
           และบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป



                ผลกระทบดังกล่าว ส่งผลอย่างยิ่งให้ไทยต้องปรับตัว   นอกจากนี้ การพัฒนาเทคโนโลยีการส�ารวจและผลิต Shale Gas
           ในการด�าเนินการให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะ  ยังเป็นปัจจัยส�าคัญที่ท�าให้สัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติในอนาคต
           ด้านการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี   เพิ่มขึ้น  เนื่องจากมีปริมาณมากและราคาไม่แพง  ขณะที่
           และนวัตกรรม การพัฒนา เทคโนโลยีด้านดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์   เทคโนโลยีการขนส่งก๊าซธรรมชาติที่ดีขึ้น  ท�าให้ข้อจ�ากัด
           และพลังงาน เช่น ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)   ด้านการขนส่งน้อยลง  ในด้านพลังงานทางเลือกคาดว่าจะ
           เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบการกักเก็บพลังงานที่มี  ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพลังงานจากแสงอาทิตย์
           ประสิทธิภาพสูง และยานยนต์ไฟฟ้า ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง  ลม เชื้อเพลิงชีวภาพ พลังงานน�้า และความร้อนใต้พิภพ เนื่องจาก
           ที่รุนแรงของตลาด รูปแบบธุรกิจ และพฤติกรรมของผู้บริโภค   ที่ผ่านมาราคาน�้ามันอยู่ในระดับสูง  จึงเป็นแรงผลักดันให้มี
           ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทาย กระแสการเติบโตของจ�านวน  การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
           ผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศต่างๆ รวมทั้งการขยายตัวของ  เพื่อความมั่นคงทางพลังงานในประเทศ และลดการพึ่งพา
           เศรษฐกิจฐานดิจิทัล ซึ่งมีความจ�าเป็นที่ต้องใช้ไฟฟ้าที่มีปริมาณ  พลังงานจากปิโตรเลียม

           และความเสถียรเพิ่มมากขึ้น
                                                                    จึงเป็นที่มาของการก�าหนดแผนการปฏิรูปประเทศ
                ซึ่งแนวโน้มของแหล่งพลังงานในอนาคตจากวันนี้ไปจนถึง  ด้านพลังงานเพื่อก�าหนดกรอบการใช้พลังงานและการเสริมสร้าง
           ช่วงปี พ.ศ. 2580 คาดว่าพลังงานจากปิโตรเลียม (Hydrocarbon)   ความมั่นคงทางพลังงานในประเทศในระยะยาวครอบคลุมใน
           จะยังคงเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก โดยน�้ามันดิบยังเป็น   3 มิติ ประกอบ
           เชื้อเพลิงที่มีบทบาทส�าคัญ แต่อาจมีอัตรา                                 1. การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
           การขยายตัวน้อยกว่าการขยายตัวของ                                         และการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
           ก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากประเทศต่างๆ                                          ให้กับประเทศ  ด้วยการจัดหา
           ให้ความส�าคัญกับการลดการ                                                    พลังงาน เนื่องจากประเทศไทย
           ปลดปล่อยคาร์บอน (Carbon                                                  ยังคงต้องมีการใช้พลังงานเพื่อ
           Emission)  ก๊าซธรรมชาติจึงเป็น                                           ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ
           ตัวเลือกที่ส�าคัญเนื่องจากเป็นพลังงานจาก                                  ยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่
           ปิโตรเลียมที่มีการปลดปล่อยคาร์บอนน้อยที่สุด                            ของประชาชนให้ดีขึ้น ซึ่งการใช้พลังงาน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10