Page 7 - excise JUNE e-book
P. 7

EXCISE Newsletter //                                                                               7





           โดยน�ากระแสไฟฟ้าจากระบบการผลิตของประเทศในช่วงที่มีการ  ไฟฟ้าในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้าสูง มีโครงการน�าร่องที่
           ใช้ไฟฟ้าน้อยมาใช้สูบน�้าจากอ่างเก็บน�้าที่มีอยู่เดิมขึ้นไปเก็บพัก  ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ล�าตะคอง จ. นครราชสีมา เพื่อจ่ายไฟ
           ไว้ในอ่างพักน�้าตอนบน แล้วปล่อยน�้าลงมาผ่านเครื่องก�าเนิด  ให้กับศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ล�าตะคอง
           ไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง  2.2 การพัฒนาระบบ  Smart  Grid  เพื่อยกระดับ
           ในแต่ละวัน ปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าพลังน�้าแบบสูบกลับที่ด�าเนินการ  ความสามารถของระบบไฟฟ้า (Smart System) ท�าให้ระบบไฟฟ้า
           จ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์แล้ว จ�านวนทั้งหมด 3 แห่ง ก�าลังผลิตรวม   มั่นคงและมีประสิทธิภาพ ลดความต้องการโรงไฟฟ้าส�ารอง
           1,031 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนศรีนครินทร์   จ�านวนการเกิดไฟฟ้าดับ และการสูญเสียจากการส่งและจ�าหน่าย
           (ก�าลังผลิตรวม 360 เมกะวัตต์) โรงไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนภูมิพล   ไฟฟ้า รวมทั้งช่วยยกระดับคุณภาพบริการที่มีต่อผู้ใช้ไฟฟ้า
           (ก�าลังผลิต 171 เมกะวัตต์) และโรงไฟฟ้าล�าตะคองชลภาวัฒนา   (Smart Life) และส่งเสริมให้มีการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงาน
           (ก�าลังผลิตรวม 1,000 เมกะวัตต์)                      หมุนเวียนให้มากขึ้น
                   -  ระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่  (Battery     2.3 โครงการ ERC Sandbox มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
           Energy Storage System : BESS) เป็นการปรับปรุงระบบส่ง  การวิจัยนวัตกรรมที่น�าเทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้าน
           ไฟฟ้าโดยการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานเพื่อลดปัญหาการผลิต  พลังงาน 5 ประเภท ได้แก่ (1) โครงสร้างตลาดไฟฟ้ารูปแบบใหม่
           ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่ไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้  เช่น Peer to Peer Energy Trading (2) โครงสร้างอัตราค่าบริการ
           อย่างสม�่าเสมอ ให้มีความผันผวนของกระแสไฟฟ้าน้อยลงและ  รูปแบบใหม่ เช่น Net Metering, Net Billing (3) เทคโนโลยีใหม่
           สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้มั่นคงยิ่งขึ้น มีโครงการน�าร่อง 2 แห่ง   เช่น ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และระบบกักเก็บพลังงาน (Energy

           ก�าหนดเริ่มใช้งานในเดือนกรกฎาคม 2563 ประกอบด้วย สถานี  Storage System) (4) การจัดการและการปฏิบัติการระบบไฟฟ้า
           ไฟฟ้าแรงสูงบ�าเหน็จณรงค์ (ก�าลังผลิต 16 เมกะวัตต์ชั่วโมง) และ  รูปแบบใหม่ เช่น ระบบ Micro Grid และ (5) รูปแบบกิจการธุรกิจ
           สถานีไฟฟ้าแรงสูงชัยบาดาล (ก�าลังผลิต 21 เมกะวัตต์ชั่วโมง)  ใหม่ด้านพลังงาน เช่น การซื้อขายไฟฟ้าผ่านคนกลาง (Supply
                   -  ระบบกักเก็บพลังงานด้วยเซลล์เชื้อเพลิงร่วมกับ  and Load Aggregator)
           พลังงานลม (Wind Hydrogen Hybrid System) เป็นการกักเก็บ   3. มาตรการสนับสนุนแบตเตอรี่ส�าหรับรถไฟฟ้า EV จาก
           พลังงานไฟฟ้าในรูปแบบก๊าซไฮโดรเจน เมื่อกังหันลมผลิตไฟฟ้า  ภาครัฐ ประกอบด้วย มาตรการด้านก�าหนดให้มีการจัดการ
           ได้มากเกินความต้องการของระบบ ไฟฟ้าจะถูกน�าไปจ่ายให้กับ  แบตเตอรี่ใช้แล้ว  การให้เงินสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า
           เครื่องแยกน�้าด้วยไฟฟ้าท�าหน้าที่แยกน�้า (H2O) ออกเป็นก๊าซ  การพัฒนาทักษะแรงงานเกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า
           ออกซิเจน (O2) และก๊าซไฮโดรเจน (H2) โดยก๊าซไฮโดรเจนจะถูก  การจัดท�ามาตรฐานและจัดตั้งศูนย์ทดสอบส�าหรับยานยนต์ไฟฟ้า
           น�าไปกักเก็บในถังบรรจุก๊าซไฮโดรเจน ก่อนน�าก๊าซไฮโดรเจนมา  การใช้มาตรการรัฐเพื่อการกระตุ้นตลาดในประเทศ การให้
           ผลิตไฟฟ้าโดยผ่านเซลล์เชื้อเพลิง (Hydrogen Fuel Cell) เพื่อจ่าย  การส่งเสริมการลงทุน และการลดอัตราภาษีสรรพสามิต




















                จะเห็นได้ว่า ปัจจุบันได้มีการน�าระบบการกักเก็บพลังงานมาใช้อย่างหลากหลาย และน่าจะมีการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้น
           อีกในอนาคตอันใกล้ จึงเป็นประเด็นที่กรมสรรพสามิตจะต้องมีการศึกษาและพัฒนาแนวทางในการจัดเก็บภาษี เพื่อให้
           เกิดการส่งเสริมในด้านเศรษฐกิจโดยให้เกิดผลกระทบต่อสังคม และความเป็นอยู่ของประชาชนน้อยที่สุด ไม่ว่าจะเป็น
           การน�าคาร์บอนเครดิตมาใช้ในการก�าหนดอัตราภาษี หรือการก�าหนดมาตรการเพื่อให้เกิดการก�าจัดซากแบตเตอรี่
           ที่ใช้แล้วอย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหามลพิษที่อาจเกิดขึ้นจากการสนับสนุนการใช้แบตเตอรี่ภายในประเทศที่เกิดจาก
           การพัฒนาระบบการกักเก็บพลังงาน เป็นต้น
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12