Page 6 - excise JUNE e-book
P. 6

6                                                                                      EXCISE Newsletter //






          ที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  ดังนั้น    โดยในบทความนี้จะมุ่งเน้นที่การท�าความเข้าใจกับการ
          จึงต้องให้ความส�าคัญกับการใช้พลังงานอย่างมีความรับผิดชอบ  ส่งเสริมเทคโนโลยีระบบการกักเก็บพลังงาน  เนื่องจากเป็น
          จากทุกภาคส่วนทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ โดยมุ่งเน้นการใช้พลังงาน  เทคโนโลยีใหม่ที่มีการให้ความสนใจมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
          อย่างประหยัด  มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น  การเพิ่มเชื้อเพลิง   โดยระบบการกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System: ESS)
          ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้  เป็นการน�าเทคโนโลยี
          พลังงานของเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อลดการปล่อยก๊าซ  มาใช้ในการกักเก็บ
          คาร์บอนไดออกไซด์                                    พลังงานไฟฟ้าเพื่อให้
              2. การเสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศ   เกิดความสมดุลระหว่าง
          โดยการส่งเสริมความต่อเนื่องจากการส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม  การผลิต (Supply) และ
          ในประเทศไทย  เพื่อส่งเสริมการจัดหาพลังงานทดแทนที่มี  การใช้ไฟฟ้า (Demand)
          ศักยภาพส�าหรับประเทศไทย  รวมทั้งเตรียมความพร้อม     เพื่อให้สามารถใช้พลังงานได้อย่างเต็มที่ หากไม่มีระบบกักเก็บ
          โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน                         พลังงาน (Energy Storage System) ระบบจะจ่ายกระแสไฟฟ้า
              3.  การบริหารจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ    ที่ผลิตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงอาจเกิด
          บูรณาการ และยกระดับธรรมาภิบาลในธุรกิจพลังงาน เพื่อสร้าง  ความเพียงพอและช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้าต�่าอาจเกิด
          ความสมดุลระหว่างการใช้และการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพใน  ปริมาณไฟฟ้าส่วนเกิน ซึ่ง ESS จะเป็นระบบที่สามารถน�า
          การก�ากับดูแลธุรกิจพลังงานให้มีการใช้ศักยภาพด้านพลังงานใน  พลังงานที่สูญเปล่าจากส่วนเกินของการผลิตไฟฟ้ามากักเก็บใน

          ประเทศอย่างเต็มที่                                  ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) และน�ากลับมา
              กรมสรรพสามิตในฐานะที่เป็นหน่วยงานจัดเก็บภาษีที่  จ่ายให้กับระบบในเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง เพื่อสร้าง
          มุ่งเน้นการเป็นผู้น�าการจัดเก็บภาษีเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม และ  ความยืดหยุ่นและเสถียรภาพให้กับระบบไฟฟ้าได้ โดยคาดว่า
          พลังงาน ก็มีส่วนในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการปฏิรูปด้าน  ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) จะเติบโตอย่าง
          พลังงานในด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน  รวดเร็วในไม่กี่ปีข้างหน้าจากราคาของแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน
          พลังงาน ประกอบด้วย 2 ประเด็นปฏิรูป ดังนี้           (Lithium Ion Battery) ที่มีแนวโน้มว่าจะลดลงมาก อย่างไรก็ตาม
              1. การส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย เพื่อให้  อัตราการเติบโตของระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage
          ประเทศไทยมีทิศทางและความชัดเจน  นโยบายพัฒนา         System) ในประเทศไทยอาจขึ้นอยู่กับการสนับสนุนและส่งเสริม
          อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า สร้างความเชื่อมั่นการลงทุน และ  จากภาครัฐ และการพัฒนานวัตกรรมที่สามารถน�าไปใช้กับระบบ
          สามารถวางแผนด้านพลังงานเพื่อรองรับได้อย่างมีประสิทธิภาพ   กักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ในอนาคต อย่างเช่น
          มีการก�าหนดทิศทางการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าที่ชัดเจนและ   เทคโนโลยี Blockchain, AI, Machine Learning, Smart Grid และ
          ประกาศเป้าหมายการพัฒนาและการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ปรับปรุง  สถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า EV Charger เพื่อก่อให้เกิดการใช้
          แผนด้านพลังงานและการจัดหาพลังงานเพื่อรองรับ จัดท�าแผน  พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
          ปฏิบัติการ  และจัดท�าแนวทางสนับสนุนการเปลี่ยนผ่าน

          อุตสาหกรรมยานยนต์                                   การด�าเนินงานเพื่อส่งเสริม  ESS  ในประเทศไทย
              2.  การส่งเสริมเทคโนโลยีระบบการกักเก็บพลังงาน   ประกอบด้วย
          เพื่อให้ประเทศไทยมีทิศทางการส่งเสริมการลงทุนและมีการน�า
          ระบบกักเก็บพลังงานมาใช้พัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าของประเทศ      1. โครงการวิจัยและพัฒนาซึ่งด�าเนินโครงการภายใต้
          อย่างเป็นรูปธรรม มีการศึกษาโอกาสและความเป็นไปได้ในการ  การสนับสนุนเงินจากกองทุนอนุรักษ์พลังงาน มีการวิจัยเพื่อน�ามา
          ส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมการผลิตระบบกักเก็บพลังงาน   ใช้ในด้านต่างๆ เช่น เพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนในพื้นที่ห่างไกล
          ซึ่งนับเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive technology)   ใช้ในงานด้านความมั่นคงและภัยพิบัติ และการใช้ในยานยนต์
          ที่ส�าคัญ  และก�าหนดแผนการน�ามาใช้ในระบบสายส่ง          2. การจัดท�าโครงการสาธิตและการน�าไปใช้ประโยชน์
          ในภาคพลังงาน จัดท�าแผนปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม  ประกอบด้วย
          ระบบกักเก็บพลังงานและปรับปรุงการวางแผนด้านพลังงาน       2.1 การพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน
          ให้มีการน�าระบบกักเก็บพลังงานมาใช้ในระบบโครงข่ายไฟฟ้า       -  โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้าแบบสูบกลับ (Pumped-
          ของประเทศ                                           Storage) เป็นระบบกักเก็บพลังงานที่มีต้นทุนต่อหน่วยไฟฟ้า
                                                              ต�่าที่สุดและสามารถลดคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้าได้
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11