การจัดเก็บภาษีสรรพสามิต

Untitled Document ข้อมูลการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน

รายละเอียดแยกตามประเทศสมาชิกอาเซียน


เปรียบเทียบการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตของประเทศสมาชิกอาเซียน

 

ภาษียาสูบ

เปรียบเทียบรายได้จากการจัดเก็บภาษียาสูบ
รายได้รัฐจากภาษียาสูบ ในปี ค.ศ. 2005-2011 (แสดงในรูปแบบดอลลาร์สหรัฐ)

ประเทศ ปี 2005 ปี 2006 ปี 2007 ปี 2008 ปี 2009 ปี 2010 ปี 2011
บรูไน ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล 14,139,272 21,627,906 9,612,403
กัมพูชา 5,100,000 6,200,000 7,800,000 11,100,000 13,100,000 21,627,906 16,443,500
อินโดนีเซีย 3,548,913,043 4,017,391,304 4,726,086,957 5,426,086,957 6,017,565,217 6,556,188,503 7,591,927,284
สาธารณรัฐประชาธิป
ไตยประชาชนลาว
3,321,341 4,017,391,304 4,923,659 9,585,732 11,967,927 20,091,439 26,623,414
มาเลเซีย 892,857,143 857,142,857 964,285,714 1,071,428,571 1,107,142,857 ไม่มีข้อมูล 1,645,569,620
ฟิลิปปินส์ 512,987,013 580,086,580 500,000,000 595,238,095 523,809,524 720,909,090 590,840,909
สิงคโปร์ 510,093,057 444,366,500 501,073,729 568,002,863 666,857,552 683,923,076 749,689,922
ไทย 1,157,363,636 1,080,333,333 1,267,393,939 1,267,636,364 1,331,393,939 1,779,366,666 1,906,533,333
เวียดนาม 380,200,000 378,800,000 395,600,000 444,700,000 521,100,000 576,999,896 649,420,725
ที่มา : tobaccotaxdatabase.seatca.org




เปรียบเทียบอัตราภาษียาสูบ (ร้อยละของราคาขายปลีก)


ที่มา : tobaccotaxdatabase.seatca.org




เปรียบเทียบระบบการจัดเก็บภาษียาสูบ

ประเทศ อัตราภาษีโดยรวมเมื่อคิดเป็น % ของราคาขายปลีก ประเภทของภาษีที่ใช้ ฐานภาษีสำหรับผลิตภัณฑ์ในประเทศ ฐานภาษีสำหรับผลิตภัณฑ์นำเข้า ข้อสังเกต
อัตราภาษีสรรพสามิต VAT/GST พิกัดภาษีนำเข้า อื่นๆ
บรูไน 67% ภาษีเฉพาะ 0.25 บรูไนดอลลาร์ ต่อมวน ไม่ใช้ ไม่ใช้ ไม่ใช้ ไม่มีผลิตภัณฑ์ในประเทศ น้ำหนักและประเภทของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผลิตภัณฑ์ยาสูบในบรูไนเป็นสิ่งนำเข้าและมีภาษีสรรพสามิตเดียวซึ่งเก็บจากฐานประเภทยาสูบ BND 0.25 ต่อมวนโดยเก็บจากยาสูบที่ผ่านการผลิตต่อกิโลกรัม และ BND 200.00 เก็บจากบุหรี่, Cheroots และ Cigarillos คิดเป็นกิโลกรัม
กัมพูชา 20% สำหรับผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ
25% สำหรับผลิตภัณฑ์นำเข้า
ภาษีตามมูลค่า 10% 10% 7%-35% บวกภาษีมูลค่าเพิ่มนำเข้า 10% ภาษีไฟฟ้าสาธารณะ 3% จากมูลค่าตามใบแจ้งราคา
ภาษีกำไร 20%
ภาษีผลประกอบการ 2% จากมูลค่าตามใบแจ้งราคา
65% จากราคาตามใบแจ้งราคา CIF มีข้อยกเว้นภาษีบางประการ รวมทั้งยาสูบที่นำเข้า,บุหรี่ที่นำเข้าโดยนักท่องเที่ยวเพื่อใช้ส่วนตัวและไม่เกินกว่า 1 ซอง,และร้านค้าปลอดภาษีที่สนามบิน
อินโดนีเซีย 46% (ave) ภาษีเฉพาะ 80 รูเปียต่อมวน 8.4% 40% ไม่ใช้ ราคาต้นทุนผลิตภัณฑ์ มูลค่าการดำเนินการต่างๆเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยาสูบ ภาษีสรรพสามิตที่เก็บจากทั้งผลิตภัณฑ์ยาสูบในประเทศและนำเข้าตามระบบภาษี multi-tier system ซึ่งครอบคลุมแต่มีความซับซ้อนและก่อให้เกิดช่องโหว่ของกฎหมาย

บุหรี่นำเข้าประกอบด้วยส่วนสำคัญต่อการบริโภคในปี ค.ศ.2011 , การแบ่งสรรบุหรี่นำเข้าเป็นสินค้าในประเทศที่มีจำนวนน้อยกว่า 1%
สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว
19.7% สำหรับผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ

16% สำหรับผลิตภัณฑ์นำเข้า
ภาษีตามมูลค่า 15%-30% , ภาษีเฉพาะเพิ่มเติม 500 กีบ 10% ภาษีอัตราเดียวจำนวน 119 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับยี่ห้อที่มีชื่อเสียงและ 85 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับยี่ห้ออื่น ภาษีค่าสิทธิ 15% จากต้นทุนผลิตภัณฑ์ ราคาหน้าโรงงาน CIF อัตราภาษีสรรพสามิต 60% เพื่อเป็นบทลงโทษตามกฎหมายซึ่งจะคงอยู่เป็นเวลา 25 ปี

ความตกลงการ อนุญาตการลงทุนสำหรับภาคอุตสาหกรรมใช้เพียง 25-30%
มาเลเซีย 52% ภาษีเฉพาะ 0.19 ริงกิตต่อมวน, และภาษีตามมูลค่า 20% 5% 0.20 ริงกิตต่อมวน ไม่ใช้ ต้นทุนหน้าโรงงาน CIF บุหรี่ส่งออกและนำออกจากประเทศไม่เสียภาษี ,ภาษีนำเข้ามีอัตราสูง
อย่างไรก็ตามการมีอยู่เขตการค้าเสรีอาเซียน(AFTA)ทำให้ภาษีนำเข้าสำหรับยาสูบ/ผลิตภัณฑ์ยาสูบจากประเทศในอาเซียนอยู่ที่ 0-5%
เมียนมาร์ 50% ภาษีตามมูลค่า 100% 16% CIF 30% 1% special excise duty profit tax, ภาษีเงินได้ ราคาขายปลีก CIF มีการเพิ่มอัตราภาษีสรรพสามิตเป็น 50% ของราคาขายปลีกในยาสูบประเภทอื่น เช่น Cheroots, ซิการ์, ยาเส้น
ภาษีนำเข้ายังเก็บจากผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ไม่ใช้สูบ
ภาษีกำไรยังเก็บจากผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ไม่ใช้สูบ
ฟิลิปปินส์ 53% ภาษีเฉพาะ 12 เปโซหรือ 25 เปโซต่อซอง (2 ระดับ) 12% 3%-10% ไม่ใช้ ราคาขายปลีกสุทธิ(ก่อนรวมภาษี) CIF การเก็บภาษีจากผลิตภัณฑ์ยาสูบที่นำเข้ามีความหลากหลายไปตามผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ไม่ผ่านกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน (7%), ซิการ์และบุหรี่ (10%),และยาสูบที่ผ่านกระบวนการผลิต (3% หรือ 7%)

ผลจากระบบภาษียาสูบในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.2013 จำทำให้เกิดการเปลี่ยนจากภาษี 4 ระดับไปเป็นภาษีอัตราเดียวในปี ค.ศ.2017,
มีการจัดกลุ่มยี่ห้อทั้งหมดใหม่ทุก 2 ปี (มีการลบล้างการจัดกลุ่มราคาที่กำหนดตายตัว) และเพิ่มภาษี 4% ทุกปีโดยจะเริ่มต้นในปี ค.ศ.2018
สิงคโปร์ 69% ภาษีเฉพาะ 0.32 ดอลลาร์สิงคโปร์ต่อมวน 7% ไม่ใช้ ไม่ใช้ ไม่มีผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ น้ำหนักและประเภทของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ภาษีสรรพสามิตมีฐานจากประเภทของผลิตภัณฑ์ สำหรับยาสูบที่ไม่ผ่านกระบวนการผลิตและยาสูบตัดมีการเก็บภาษีสรรพสามิตที่ 300 ดอลลาร์สิงคโปร์/กิโลกรัม สำหรับผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ไม่ใช้สูบอื่นๆมีการเก็บภาษีสรรพสามิตที่ 181 ดอลลาร์สิงคโปร์/กิโลกรัม

นอกจากนี้ยังมีการเก็บภาษี 0.32 ต่อหนึ่งมวนในกรณีที่มีน้ำหนักมากกว่า 1 กรัม
เวียดนาม 41.6% ภาษีตามมูลค่า 65% 10% 30-140% ไม่ใช้ ราคาโรงงาน ราคานำเข้า ในปี ค.ศ.2008 มีการทำให้ภาษีสรรพสามิตพิเศษที่เก็บจากบุหรี่ทุกประเภทเป็นอัตราเดียวกันคือ 65%

เวียดนามยกเลิกการห้ามบุหรี่นำเข้าในปี ค.ศ.2007 และเก็บภาษีเป็นเปอร์เซนต์ของราคานำเข้าคือบุหรี่(140%), ซิการ์(125%) และวัตถุดิบยาสูบ(30%)
ไทย 70% ภาษีตามมูลค่า 87% เก็บจากบุหรี่, ภาษีเฉพาะ 1 บาท/กรัม 7% ยกเว้นภาษีเว้นแต่กรณีที่มีการเก็บภาษีท้องถิ่น ภาษีท้องถิ่น 0.093 ต่อมวน, ภาษีสุขภาพของไทย 2% ของภาษีสรรพสามิต, และภาษี TV 1.5% ของภาษีสรรพสามิต ราคาหน้าโรงงาน CIF ปัจจุบันมีการเพิ่มภาษียาสูบเป็นภาษีเฉพาะโดยเก็บ 1 บาท/กรัม เช่นเดียวกับที่มีการเพิ่มอัตราภาษีเศษยาสูบให้สูงขึ้นเพื่อป้องกันผลของการขยายสู่ตลาดส่วนล่าง
เช่นเดียวกับภาษีสรรพสามิตอื่นๆในประเทศไทย โครงสร้างอัตราภาษีสรรพสามิตที่เก็บจากยาสูบใช้ระบบผสม
ทั้งอัตราภาษีเฉพาะและภาษีตามมูลค่าจะถูกคำนวนโดยถ้าอัตราใดก่อให้เกิดความรับผิดในภาษีที่สูงกว่าก็จะใช้อัตรานั้น ยกเว้นกรณีอัตราภาษีบุหรี่ที่ใช้อัตราภาษีตามมูลค่า

ภาษีนำเข้าถูกใช้ตาม specified codes,ประเทศที่นำเข้าและการค้า
ที่มา : tobaccotaxdatabase.seatca.org