รายละเอียดแยกตามประเทศสมาชิกอาเซียน
เปรียบเทียบการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตของประเทศสมาชิกอาเซียน
เปรียบเทียบอัตราภาษีรถยนต์
ประเทศ | <2000cc | 2-3000cc | >3000cc | 10-16 ที่นั่ง | >16 ที่นั่ง | รถกระบะ |
---|---|---|---|---|---|---|
บรูไน | 20% | 20% | 20% | 20% | 20% | 20% |
กัมพูชา | 10% | 45% | 45% | 20% | 20% | - |
อินโดนีเซีย | 20% | 40% | 75% | 10% | - | - |
สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว |
65% | 75% | 90% | 25% | 20% | 20% |
มาเลเซีย | 80% | 90% | 105% | 105% | 105% | - |
เมียนมาร์ | 25% | 25% | 25% | 25% | 5% | 5% |
ฟิลิปปินส์ | 15% | 50% | 100% | - | - | - |
สิงคโปร์ | 20% | 20% | 20% | 20% | 20% | 20% |
ไทย | 30% | 40% | 50% | - | - | 3% |
เวียดนาม | 45% | 50% | 60% | 30% | 15% | 15% |
การจำแนกประเภทและลักษณะจำเพาะของรถยนต์ที่บางประเทศได้กำหนดอัตราภาษีตามประเภทของรถยนต์นั้น ๆ ไว้เป็นการเฉพาะ
ประเทศ | ประเภทพิเศษ |
---|---|
อินโดนีเซีย |
1. ระบบขับเคลื่อนสี่ล้อ เครื่องยนต์ 1500-3000cc 40% 2. รถเก๋ง/รถยนต์อเนกประสงค์ เครื่องยนต์ <1500cc 30% , รถเก๋ง/รถยนต์อเนกประสงค์ >1500cc 75% |
สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว |
1. สำหรับเครื่องยนต์ขนาดต่ำกว่า 1500cc 60% 2. สำหรับรถhard roof jeepsเพิ่ม 5% สำหรับอัตราภาษี 3. สำหรับรถ soft roof jeeps 30% 4. เกี่ยวข้องกับรถกระบะ 2 ประตูเท่านั้น , รถกระบะ 4 ประตู จ่าย 25% 5. รถบรรทุก จ่าย 10% |
มาเลเซีย | 1. <1800cc 75% , 2500-3000cc 105% 2. ยานพาหนะเพื่อการค้า 0% 3. รถ MPV และรถตู้ทั้งหมดที่สันนิษฐานว่า >2500cc : <1500cc 60% , 1500-1800cc 65% , 1800-2000cc 75% , 2000-2500cc 90% |
ฟิลิปปินส์ | 1. ราคาขายไม่รวมภาษีสรรพสามิตและ VAT 2. เครื่องยนต์ดีเซล 3. เครื่องยนต์เบนซิน ขนาด 1600-2000cc และเครื่องยนต์ดีเซล ขนาด 1800-2300cc 35% |
ไทย | 1. 2000-2500cc จ่าย 35% 2. ที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงทางเลือก (ลดอัตราภาษี 5%) 3. รถอีโคคาร์<1400cc 17% 4. รถยนต์ไฟฟ้า 10% 5. พาหนะอื่น <3250CC 20% และสองห้องโดยสาร <3250cc 12% |
เวียดนาม | 1. รถที่วิ่งด้วยน้ำมันเชื้อเพลิงทางเลือก (นอกจากน้ำมันไบโอ) จ่าย 70% ของอัตราหลัก 2. รถที่วิ่งด้วยน้ำมันไบโอจ่าย 50% ของอัตราหลัก |